มาตรฐานระบบเสียงของคอมพิวเตอร์ และ การจัดวางลำโพง

มาตรฐานระบบเสียงของคอมพิวเตอร์
มาตรฐาน AC '97 Intel High Definition Audio

AC'97 (Audio Codec '97) เป็ฯมาตรฐานด้านระบบเสียงของซีพียูที่ถูกพัฒนาขึ้นมาโดยอินเทลในปี 1997 ส่วน Intel High Definition Audio (HD Audio) นั้น เป็นมาตรฐานใหม่ที่ถูกพฒนาขึ้นมาในปี 2004 ซึ้งให้คุณภาพของเสียงระดับ High Definition ในระบบ 5.1-7.1 Channel และได้รวมเอาความสามารถในการถอดรหัสเสียงรอบทิศทางในระบบ Dolby Digital เข้าไว้ในตัวด้วย โดย HD Audio ที่กล่าวถึงนี้จะมาพร้อมกับชิปเซ็ตในตระกูล i9xx Express ต่างของอินเทลฃ











AC ‘97 Version 1.0 กำหนดให้สเปคพื้นฐานของระบบเสียงนั้นจำเป้นต้องมี การเชื่อมต่อลำโพงอย่างน้อย 2 ตัว มีการเชื่อต่อกับซีดีรอม ซึ่งเป็นความต้องการพื้นฐาน

AC ‘97 Version 2.1
เพิ่มความสามารถพื้นฐานขึ้นมาอีกหน่อยครับ โดยเราสามารถเชื่อต่อลำโพงได้มากกว่า 2 ตัว

AC ‘97 Version 2.2 ความสามารถก็เพิ่มขึ้นมาอีกขั้น โดยมีการรองรับการเชื่อมต่อแบบ S/PDIF ทำให้เสียงที่ถูกส่งมาในรูปแบบดิจิตอล ถูกถอดรหัสที่ลำโพงโดยตรง ในวิธีการนี้ จะทำให้ระบบเสียงของเราคมชัดมากขึ้น

AC ‘97 Version 2.3
ได้เพิ่มการปรับแต่งคุณสมบัติต่างๆ ได้ด้วยตนเอง และมีระบบเตือนในกรณีเราต่อหัวต่อผิด โดยจะมีเสียงปี๊บๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ดังออกมา นับเป็นสิ่งที่ดีขึ้นมาก


มาตารฐานแบบใหม่ Hi-Res Audio




      High Resolution Audio คือ เสียงในรูปแบบดิจิทัล LPCM ที่เหนือกว่ามาตรฐาน Audio CD ที่มีความละเอียด 16-bit 44.1 kHz (ใช้ใน CD) และ 48 kHz (ใช้ใน DVD และเทป DAT) และหากมีค่าใดค่าหนึ่งต่ำกว่ามาตรฐาน Audio CD ก็ไม่จัดว่าเป็น HRA

      อย่างไรก็ตามหลาย ๆ คนก็สงสัยว่าอุปกรณ์ที่รองรับ HRA ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร ถึงจะบอกได้ว่าอุปกรณ์นั้นรองรับ HRA จริง ๆ วันนี้ RE.V-> จะมาไขข้อข้องใจเหล่านี้ครับ
เสียงเป็นข้อมูลชนิดหนึ่งที่นำมาใช้งานด้านมัลติมีเดียต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ โดยการนำไปใช้ประโยชน์ในการบันเทิง โดยใช้เสียงและลำโพงในการกระจายข้อมูลเป็นคลื่นความถี่ให้เราได้ยินและทำงานกับการ์ดเสียงระบบเสียงในรูปแบบต่างๆ จะได้คุณภาพเสียงที่ดี ในปัจจุบันระบบเสียงมีการพัฒนาไปในด้านคุณภาพเสียงที่ดีมีการกำหมดให้สมจริงเพื่อเป็นการเพิ่มอรรถรสในการฟัง จึงได้กำหนดมา๖รฐานของคุณภาพเสียงเพื่อให้ได้เสียงที่แตกต่างกันในระบบต่างๆ ที่ใช้เสียงเป็นองค์ประกอบของระบบ


การจัดวางลำโพง


การติดตั้งระบบเสียง 5.1




ลำโพงกลาง Center (C) ควรอยู่ตรงกลางตำแหน่งวางอยู่ข้างล่างทีวี ตรงกหน้าตำแหน่งที่นั่ง
ลำโพงหน้า Front (F) ทั้งซ้าย-ขวาควรทำมุมเฉียงกับคนนั่ง ด้านซ้ายของลำโพงทำมุมประมาณ 30 องศาและด้านขวา 20 องศา
ลำโพงเสียงรอบทิศทาง Surround (S) ทั้งซ้าย-ขวาควรปรับให้อยู่ในระดับหู เอียงเข้าหาคนนั่งและอยู่ในแนวระนาบเดียวกับคนนั่ง

การติดตั้งระบบเสียง 7.1 (front wide)

 



ลำโพงหลักทั้ง 5 ตัวมีการจัดวางแบบเดียวกับระบบเสียง 5.1 แต่มีตำแหน่งลำโพงเพิ่มขึ้นมาอีกสองตัวคือ ลำโพงหน้ากว้าง หรือ Front Wide (FW)
การจัดลำโพง Front Wide (FW) ทั้งซ้าย-ขวา ควรอยู่ตรงกลางระหว่างลำโพงหน้าและลำโพงหลัง โดยทำมุมเอียงเข้าหาคนนั่งประมาณ 60 องศา
 

 

การติดตั้งระบบเสียง 7.1 (surround back)

 



มีการขยับตำแหน่งลำโพงจากตำแหน่ง Front Wide (FW) ให้เปลี่ยนมาอยู่ด้านหลัง หรือที่เรียกว่า Surround Back (SB)
ตำแหน่งลำโพง Surround Back ทั้งซ้าย-ขวาควรอยู่ด้านหลังคนนั่ง ตรงกับลำโพงหน้า ทำมุมเฉียงเข้าหาคนนั่งประมาณ 60 องศา


การติดตั้งระบบเสียง 9.1




เป็นรูปแบบการจัดวางระบบเสียงแบบเดียวกับระบบเสียง 7.1 แต่มีการเพิ่มลำโพงสูงเข้ามา หรือที่เรียกว่า Front Hight (FH)
สำโพง Front Hight (FH) ทั้งซ้าย-ขวา ควรติดให้ตรงกันกับลำโพงหน้า Front (F) ที่อยู่ด้านล่าง

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ประเภทของปริ้นเตอร์

วิเคราะห์ CPU Intel Core i9 - 7900X Processors